top of page

Acne

Writer's picture: Cake PremmikaCake Premmika


Acne is a common skin condition that happens when hair follicles under the skin become clogged. Sebum—oil that helps keep skin from drying out—and dead skin cells plug the pores, which leads to outbreaks of lesions, commonly called pimples or zits. Most often, the outbreaks occur on the face but can also appear on the back, chest, and shoulders.

Types of Acne


Whiteheads: Plugged hair follicles that stay beneath the skin and produce a white bump.

  • Blackheads: Plugged follicles that reach the surface of the skin and open up. They look black on the skin surface because the air discolors the sebum, not because they are dirty.

  • Papules: Inflamed lesions that usually appear as small, pink bumps on the skin and can be tender to the touch.

  • Pustules or pimples: Papules topped by white or yellow pus-filled lesions that may be red at the base.

  • Nodules: Large, painful solid lesions that are lodged deep within the skin.

  • Severe nodular acne (sometimes called cystic acne): Deep, painful, pus-filled lesions.


  1. Whiteheads : Plugged hair follicles that stay beneath the skin and produce a white bump.

  1. Blackheads :  Plugged follicles that reach the surface of the skin and open up. They look black on the skin surface because the air discolors the sebum, not because they are dirty.


  1. Comedones : It occurs due to a disorder of the hair follicles, resulting in acne that resembles blackheads. However, blackheads have tiny hair clusters within the clogged pores, creating small black dots or sharp spikes protruding from them. This condition is commonly found around the tip of the nose, chin, cheeks, and forehead.


  1. Nodules : Large, painful solid lesions that are lodged deep within the skin.


  1. Papules : Inflamed lesions that usually appear as small, pink bumps on the skin and can be tender to the touch.


  1. Pustule :  Papules topped by white or yellow pus-filled lesions that may be red at the base.


  1. Acne Conglobata : A rare but severe form of nodulocystic acne. It usually presents with tender, disfiguring, double or triple interconnecting comedones, cysts, inflammatory nodules, and deep burrowing abscesses on the face, shoulders, back, chest, upper arms, buttocks, and thighs.



Causes of Acne


  • อาหารที่มีไขมันสูง น้ำตาลสูง

  • พันธุกรรม

  • ความเครียด

  • นอนไม่เพียงพอ

  • ฮอร์โมน

  • ประจำเดือน

  • เครื่องสำอาง

  • สุขภัณฑ์ทำความสะอาดหน้า

  • เหงื่อไคล

  • ฝุ่น มลภาวะ

  • การรับประทานยาบางชนิด เช่น ยาคุมกำเนิด


การดูแลรักษา


เป้าหมายในการรักษาสิวคือ การช่วยให้สิวยุบตัวลงโดยเร็ว หยุดการเกิดสิวใหม่ และป้องกันการเกิดแผลเป็น โดยแพทย์จะเป็นผู้จะพิจารณาวิธีการรักษาที่เหมาะสม โดยคำนึงถึง อายุ ชนิดของสิว และระดับความรุนแรง


ยาทาเฉพาะที่ หรือ ยารักษาสิวชนิดใช้ภายนอก (Topical medications)


  • ยาปฏิชีวนะชนิดทา (Topical antibiotics) โดยใช้ร่วมกับยาทาเฉพาะที่ชนิดอื่น เพื่อยับยั้งแบคทีเรีย และลดการผลิตน้ำมัน

  • ยาทาเรตินอยด์ (Retinoids) ที่มีส่วนผสมของอนุพันธ์วิตามิน A เพื่อรักษาสิวและรอยโรคที่อาจทำให้เกิดสิวซ้ำ และช่วยลดเลือนริ้วรอยจากแผลเป็น

  • กรดอะเซลาอิก (Azelaic acid) และกรดซาลิไซลิก (Salicylic acid) มีคุณสมบัติต้านเชื้อแบคทีเรีย ช่วยสลายสิวหัวดำและสิวหัวขาว และยังช่วยลดการผลัดเซลล์ผิวในรูขุมขน

  • ซัลเฟอร์ (Sulfur) หรือกำมะถัน มีประสิทธิภาพช่วยสลายสิวหัวดำ และสิวหัวขาว


ยารักษาสิวชนิดรับประทาน (Oral medications)


  • ยาปฏิชีวนะ (Oral Antibiotics) ที่ช่วยชะลอ หรือหยุดการเจริญเติบโตของแบคทีเรียและลดการอักเสบ โดยแพทย์จะสั่งยาปฏิชีวนะชนิดรับประทานร่วมกับชนิดที่ใช้ทาภายนอกสำหรับสิวที่มีระดับความรุนแรงปานกลางถึงรุนแรงมาก เช่น สิวอักเสบชนิดรุนแรง หรือสิวเรื้อรัง

  • ยาคุมกำเนิดชนิดรับประทาน (Oral contraceptives) ช่วยปรับสมดุลฮอร์โมนแอนโดรเจนที่เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดสิว

  • ฮอร์โมนต้านฤทธิ์แอนโดรเจน (Anti-androgen agents) เป็นยาต้านฮอร์โมนแอนโดรเจนสำหรับผู้หญิง มีคุณสมบัติช่วยลดผลกระทบของฮอร์โมนแอนโดรเจนที่ส่งผลต่อการทำงานของต่อมไขมันใต้ผิวหนัง

  • เรตินอยด์ (Retinoids) หรือยากลุ่มอนุพันธุ์วิตามิน A แบบรับประทาน ช่วยรักษาสิว และช่วยลดเลือนแผลเป็นจากสิว


การรักษาสิวด้วยการบำบัด (Acne Therapies) 


ในผู้ที่เป็นสิวอักเสบรุนแรงหรือไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาทาเฉพาะที่และ/หรือยารักษาสิวชนิดรับประทาน แพทย์อาจพิจารณาใช้วิธีการอื่น ๆ ในการรักษา เช่น


  • การบำบัดด้วยแสง (Light Therapy) เป็นการฉายแสง LED ความเข้มสูงเพื่อช่วยกระตุ้นกลไกการฟื้นฟูของเซลล์ผิว และช่วยลดเลือนริ้วรอย

  • การผลัดเซลล์ผิวด้วยสารเคมี (Chemical Peeling) เป็นการบำบัดด้วยสารเคมีเพื่อช่วยผลัดเซลล์ผิวที่ตายแล้วออกเพื่อสร้างเซลล์ผิวใหม่ อาทิเช่น AHA BHA  ช่วยในการทำให้หัวสิวแห้ง และผลัดเซลล์ผิวชั้นนอกที่ตายแล้วออกไป และลดโอกาสการเกิดการอุดตันของผิว 

  • การกดสิว (Comedone Extraction) แพทย์อาจพิจารณาการรักษาโดยการกดสิวทั้งสิวหัวขาว สิวหัวดำ และสิวซีสต์ที่รักษาไม่หาย ด้วยการทายาเฉพาะที่เพื่อช่วยด้านภาพลักษณ์และบุคลิกภาพของผู้รับการรักษา อย่างไรก็ตามการกดสิวอาจทำให้เกิดแผลเป็น และอาจต้องมีการฟื้นฟูสภาพผิวเพิ่มเติม

  • ยาฉีดสเตียรอยด์ (Steroid Injection) แพทย์อาจพิจารณาให้ยาฉีดสเตียรอยด์เพื่อช่วยลดการอักเสบของสิวอักเสบชนิดรุนแรง โดยฉีดตรงไปที่ผิวหนังบริเวณสิวอักเสบเพื่อช่วยให้สิวยุบตัวเร็วและลดความเจ็บปวด โดยอาจมีผลข้างเคียงคือทำให้ผิวบาง และสีผิวบริเวณที่ฉีดเข้มขึ้น



การป้องกันการเกิดสิว


  • ล้างหน้าเป็นประจำ และล้างหน้าให้สะอาดด้วยผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่อ่อนโยนต่อผิว 

  • ทาครีมบำรุงผิวสูตรอ่อนโยน

  • หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์/เครื่องสำอางที่อาจทำให้เกิดการระคายเคืองผิวหน้า 

  • หลีกเลี่ยงการทานอาหารที่มีน้ำตาลสูง หรือไขมันสูง

  • หลีกเลี่ยงการเผชิญกับแสงแดดโดยตรงเป็นเวลานาน

  • ไม่ใช้มือที่ไม่ได้ทำความสะอาดสัมผัสโดยตรงที่ใบหน้า

  • ออกกำลังกาย และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ

  • ทำจิตใจให้ผ่อนคลาย และไม่เครียด

  • ทานยาคุมกำเนิด ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อน



พญ. ทิพย์ทิวา นนทมา







0 views0 comments

Recent Posts

See All

Asthma

Comments


bottom of page